News Calendar

May 2025
Mo Tu We Th Fr Sa Su
28 29 30 1 2 3 4
5 6 7 8 9 10 11
12 13 14 15 16 17 18
19 20 21 22 23 24 25
26 27 28 29 30 31 1

AcePolls

ท่านเข้าชม web นี้บ่อยแค่ไหน

ทุกวัน - 0%
อาทิตย์ละครั้ง - 0%
เดือนละครั้ง - 0%
ปีละครั้ง - 0%

Total votes: 0
The voting for this poll has ended on: 22 Mar 2015 - 09:51

จำนวนผู้เข้าชมเว็ปไซต์

003957
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
97
22
174
3721
207
191
3957

Your IP: 3.144.132.48
Server Time: 2025-05-09 23:03:00

Login Form

ศูนย์ข้อมูลภาคเหนือ มหาวิทยาลัยพายัพ

ntic-payap

ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ข้อมูลภาคเหนือแห่งนี้ สถานที่ : ศูนย์ข้อมูลภาคเหนือสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยพายัพ ที่อยู่ : มหาวิทยาลัยพายัพเขตแม่คาว ถนนซูเปอร์ไฮเวย์เชียงใหม่-ลำปาง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50000 โทรศัพท์ : 0-5324-1255, 0-5385-1478 เว็บไซต์ : http://lib.payap.ac.th/ntic/ เกี่ยวกับศูนย์ข้อมูลท้องถิ่นภาคเหนือ ที่นี่มีขอบเขตในการจัดเก็บข้อมูลท้องถิ่นเหมือนกัน โดยที่นี่เลือกเก็บข้อมูลท้องถิ่นภาคเหนือ 8 จังหวัดเท่านั้น ซึ่งต่างจาก ม.เชียงใหม่ ที่มีศูนย์ข้อมูลท้องถิ่นและจัดเก็บ 17 จังหวัดภาคเหนือ

ศูนย์ข้อมูลท้องถิ่นภาคเหนือ ได้ตั้งอยู่บริเวณชั้น 2 ของสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยพายัพ โดยภายในห้องมีการจัดสัดส่วนที่ค่อนข้างลงตัว แยกเป็นส่วนต่างๆ ดังนี้ - ส่วนแสดงนิทรรศการสารสนเทศท้องถิ่น – ส่วนแสดงหนังสือสารสนเทศท้องถิ่น – ส่วนแสดงสื่อมัลติมีเดียสารสนเทศท้องถิ่น เรื่องการจัดการ Collection ข้อมูลท้องถิ่นในสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยพายัพ มีการจัดการทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวกับท้องถิ่น คือ รวมมาไว้ที่ศูนย์ข้อมูลท้องถิ่นภาคเหนือ

วิธีการจัดการ

1. ทรัพยากรสารสนเทศที่มีข้อมูลเกี่ยวกับท้องถิ่น จะถูกจัดเก็บที่ศูนย์สารสนเทศท้องถิ่นภาคเหนือ

2. ทรัพยากรสารสนเทศในศูนย์สารสนเทศท้องถิ่นภาคเหนือ จะมีการจัดหมวดหมู่คือแบบดิวอี้ (หนังสือทั่วไป)

3. มีการจัดทำสารสนเทศท้องถิ่นขึ้นโดยอาศัยภาควิชาที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยคอยช่วย นอกจากการจัดการทรัพยากรสารสนเทศภายในศูนย์สารสนเทศท้องถิ่นภาคเหนือแล้ว ยังได้ความรู้เกี่ยวกับสื่อที่ทางศูนย์สารสนเทศท้องถิ่นภาคเหนือผลิตด้วย ในชื่อชุดว่า “Lanna Wisdom” ซึ่งนับว่าเป็นการผลิตสื่อสารสนเทศด้านท้องถิ่นที่น่าสนใจมากอีกชุดหนึ่งของภาคเหนือ “Lanna Wisdom”

ภูมิปัญญาล้านนา ประกอบด้วยองค์ความรู้ 7 เรื่อง ดังนี้

(1) การแกะสลักไม้

(2) เครื่องจักรสาน

(3) เครื่องปั้นดินเผา ศิลาดล

(4) โคมและตุง

(5) กระดาษสา

(6) เครื่องเขิน

(7) เครื่องเงิน นอกจากได้ดูสื่อสารสนเทศที่แสนจะมีประโยชน์แล้ว เจ้าหน้าที่ของที่นี่ยังได้แนะนำเว็บไซต์ของศูนย์สารสนเทศท้องถิ่นภาคเหนือ ด้วย ซึ่งด้านในประกอบด้วยองค์ความรู้อีกมากมายที่อยู่ในรูปแบบของไฟล์ต่างๆ เช่น - ข้อมูลอาหารพื้นเมือง – ข้อมูลและเนื้อเพลงพื้นเมือง – ไฟล์รูปภาพเก่าๆ ในท้องถิ่น – บทความน่ารู้ที่เกี่ยวกับท้องถิ่น แต่ไฟล์เหล่านี้สามารถเปิดได้ภายในสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยพายัพเท่านั้น (intranet)  

 

อ้างอิงจาก : ศูนย์ข้อมูลภาคเหนือสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยพายัพ

แผนที่

   

Nice Social Bookmark

FacebookMySpaceTwitterDiggDeliciousStumbleuponGoogle BookmarksRedditNewsvineTechnoratiLinkedinRSS FeedPinterest
Pin It

Survey