วัตถุประสงค์
- เพื่อรวบรวมผู้รู้ พ่อครู แม่ครู ช่างพื้นบ้านในแขนงต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชนล้านนา
- ศึกษารวบรวยมข้อมูล องค์ความรู้พื้นบ้านออกมาในรูป ของตำราที่คนรุ่นใหม่ศึกษาได้
- จัดทำหลักสูตร จัดอบรมระยะสั้น
- เผยแพร่ให้ความรู้แก่สาธารณชนให้เห็นความ สำคัญของการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น
- ประสานเครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน ในการดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องต่าง
หลักสูตรที่เปิดสอน
- ภาษาล้านนา
- ดนตรีพื้นเมือง
- จักรสาน
- แต่งคร่าว-ซอ
- ฟ้อนพื้นเมือง
- วาดรูปล้านนา
- การทำตุง-โคม
- ฟ้อนดาบ-ฟ้อนเจิง
- ของเล่นเด็ก
- พิธีกรรม
- การทอผ้า
- การปั้น
- เครื่องเขิน
- แกะสลัก
- วิชาทางด้านสล่าเมือง
แหล่งที่มา : ข้อมูลเพิ่มเติม
แผนที่ :