WELCOME TO INFORMATION SOURCES IN CHIANG MAI

Take care of your body. It's the only place you have to live

Main Menu

ปฏิทิน

May 2025
Mo Tu We Th Fr Sa Su
28 29 30 1 2 3 4
5 6 7 8 9 10 11
12 13 14 15 16 17 18
19 20 21 22 23 24 25
26 27 28 29 30 31 1

นาฬิกา

จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์

010113
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
70
16
95
9851
270
555
10113

Your IP: 3.15.31.125
Server Time: 2025-04-30 17:38:31

social

{bm}

แบบสำรวจ

คุณชอบเว็บนี้ไหม ?

ชอบ - 50%
ไม่ชอบ - 50%

Total votes: 2
The voting for this poll has ended on: 02 May 2015 - 04:43

Survey

Login Form

Home

Published on Thursday, 12 March 2015 12:37
Written by Super User

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1.  โปรดแต่งกายสุภาพเข้าห้องสมุด

 

2.  ห้ามนำกระเป๋า หรือสิ่งของเข้าห้องสมุด ให้วางกระเป๋าหรือสิ่งของไว้ที่ชั้นวางกระเป๋าและสิ่งของนอกห้องสมุด       

 

3.   ห้ามนำอาหารหรือเครื่องดื่ม และขนม เข้ามารับประทานในห้องสมุด

 

4.   ห้ามพูดคุยกันเสียงดัง หรือ ส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่น

 

5.   ทุกครั้งที่ลุกจากเก้าอี้ควรเลื่อนเก้าอี้เก็บให้เรียบร้อย

 

6.   หนังสืออ่านเสร็จแล้วให้นำหนังสือไปเก็บที่รถเข็นพักหนังสือเจ้าหน้าที่จะนำหนังสือไปขึ้นชั้นหนังสือ

 

7.   การนำหนังสือออกจากห้องสมุดโดยไม่ได้ผ่านการยืมหรือตัดหรือฉีกหนังสือวารสาร  นิตยสาร  หนังสือพิมพ์  เป็นการทำลายทรัพย์สินของโรงเรียน หากเจ้าหน้าที่ตรวจพบผู้กระทำจะต้องได้รับโทษ  โดยให้พักการเรียน  หรือให้ออกจากโรงเรียนฃ

 

8.  ห้ามนำบัตรนักศึกษาที่มิใช่ของตนเองมายืมหนังสือ หรือให้ผู้อื่นมายืมแทนไม่ได้นอกจากเจ้าของบัตรนักศึกษาเท่านั้น ถ้าหากตรวจพบเจ้าหน้าที่จะยึดบัตรนักศึกษาทันที และระงับการยืมหนังสือของเจ้าของบัตรนักศึกษานั้น ๆ ด้วย

 

9.  ห้องสมุดอนุญาตให้ฝากหนังสือได้ แต่ไม่อนุญาตให้ฝากยืม นอกจากเจ้าของบัตรนักศึกษาจะเป็นผู้มายืมหนังสือเองเท่านั้น

 

10.  ก่อนออกจากห้องสมุด กรุณาแสดงหนังสือ  สิ่งพิมพ์ต่างๆ ต่อเจ้าหน้าที่ห้องสมุด เพื่อตรวจเช็คหนังสือว่าได้รับการยืมอย่างถูกต้องก่อนออกจากห้องสมุด

 

แหล่งที่มาของข้อมูล :http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/04093009_2204/isweb/Lesson%2025.htm

:http://lib.stc.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=85&Itemid=55

 

Published on Thursday, 12 March 2015 12:33
Written by Super User

แหล่งสารสนเทศ หมายถึง สถานที่ที่มีสารสนเทศสะสมอยู่ และเปิดโอกาสให้บุคคลสามารถเข้าใช้สารสนเทศเหล่านั้นได้ แบ่งได้เป็น 6 ประเภท ดังนี้

1. แหล่งสารสนเทศที่เป็นสถาบัน จำแนกได้ดังนี้

m
· ห้องสมุด (Library) คือสถานที่รวมทรัพยากรสารสนเทศสาขาวิชาต่าง ๆ ที่อยู่ในรูปของวัสดุตีพิมพ์และวัสดุไม่ตีพิมพ์ รวมทั้งฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมีบรรณารักษ์เป็นผู้บริหารงาน และดำเนินงานต่าง ๆ เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ห้องสมุด

v

·  ศูนย์สารสนเทศ (Information Center) แหล่งสารสนเทศประเภทนี้แต่ละแหล่งมีชื่อต่าง ๆ กัน อย่างไรก็ตามล้วนมีจุดมุ่งหมายเพื่อบริการสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา เช่น ศูนย์สารสนเทศทางการเกษตรแห่งชาติ ศูนย์เอกสารประเทศไทย ศูนย์ข้อมูลทางเทคโนโลยี และศูนย์สารนิเทศอีสานสิรินธร

 

2. แหล่งสารสนเทศที่เป็นสถานที่

x

ได้แก่ อนุสาวรีย์ โบราณสถาน อุทยานแห่งชาติรวมถึงสถานที่จำลองด้วย เช่น อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปราสาท  หินพิมาย เมืองโบราณ เป็นต้น แหล่งสารสนเทศเหล่านี้ มีประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้าอย่างยิ่ง ทั้งยังเป็นแหล่งที่เข้าถึงได้ไม่ยากนัก ข้อด้อยของแหล่งสารสนเทศที่เป็นสถานที่ก็คือ สถานที่บางแห่งอยู่ไกล การเดินทางไปสถานที่แห่งนั้นต้องใช้เวลาและค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมาก

 

3. แหล่งสารสนเทศที่เป็นบุคคล

s

ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้รอบรู้ในสาขาต่างๆ ผู้ต้องการ สารสนเทศจากบุคคลต้องไปพบปะสนทนาหรือสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญนั้นโดย  ตรงจึงจะได้สารสนเทศที่ต้องการ

 

4. แหล่งสารสนเทศที่เป็นเหตุการณ์

g

ได้แก่ กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เช่น การประชุมการสัมมนาในเรื่องต่าง ๆ นิทรรศการหรืองานแสดงต่างๆ รวมทั้งเหตุการณ์สำคัญๆ ในประวัติศาสตร์ เช่น “14 ตุลา″ในปี พ.ศ. 2516 “พฤษภาทมิฬ” ในปี พ.ศ. 2535 เป็นต้น

 

5. ศูนย์บริการสารสนเทศแบบซีดีรอม และแบบออนไลน์ ศูนย์บริการประเภทนี้มีวิวัฒนาการ สืบเนื่องมาจากศูนย์สารสนเทศที่ได้อธิบายไปข้างต้น เมื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ก้าวหน้ามากขึ้น ศูนย์ฯ จึงนำ IT มาเป็นเครื่องมือ ในการให้บริการแก่ลูกค้า เพราะสามารถให้บริการได้สะดวกและรวดเร็วกว่า  IT ที่ ศูนย์บริการสารสนเทศนำมาใช้มีทั้งการจัดทำเป็นซีดีรอมให้ผู้ขอซื้อบริการ ซึ่งส่วนใหญ่ก็คือ บรรดาห้องสมุดต่างๆ และการจัดบริการออนไลน์ ให้ห้องสมุดต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ค้นหาบทความ ในฐานข้อมูลที่ศูนย์ได้จัดทำขึ้น  อย่างไรก็ตาม การใช้ซีดีรอมนั้น มีปัญหาในเรื่อง ความสมบูรณ์ และทันสมัยของเนื้อหา ดังนั้นจึงนิยมใช้การค้นแบบออนไลน์มากกว่า แม้จะต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น

2-IMG_0003

 

6. อินเทอร์เน็ต เป็นแหล่งสารสนเทศที่ใหญ่ที่สุดในโลก เพราะหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัย สำนักข่าวสาร และสมาคมวิชาชีพ ต่างก็จัดทำข้อมูลประชาสัมพันธ์ออกมาเผยแพร่เป็นจำนวนมาก จึงทำให้อินเทอร์เน็ตประกอบด้วยข้อมูลและสารสนเทศมากมาย การที่จะได้มาซึ่ง
ข้อมูลที่ต้องการจึงต้องรู้ที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ต้องการ โดยเครื่องมือหนึ่งที่มีประโยชน์ในการค้นหาที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ต้องการคือ Search Engine ซึ่งมีหลายลักษณะ คือ
· Major Search Engine – Search Engine ที่มีฐานข้อมูลเป็นของตัวเอง เป็น Search Engine ชั้นนำ เพื่อค้นหาเว็บไซต์ที่ต้องการ เช่น
Google.com,Yahoo.com
· Meta Search Engine – Search Engine ที่ไม่มีฐานข้อมูลเป็นของตนเองแต่อาศัยฐานข้อมูลจาก Search Engine อื่น ๆ หลายแห่งมาแสดง
· Directory Search Engine – Search Engine ประเภทหนึ่ง ที่มีการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นหมวดหมู่

ob_1_

Published on Thursday, 12 March 2015 11:46
Written by Super User

หอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาพิเษก

130628141351_4202

 

ที่ตั้ง : 20/1 ถนนบุญเรืองฤทธิ์ ตำบลหายยา อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200
ติดต่อ : โทรศัพท์ 053 278-3223, 053 808-550 โทรสาร 053 808-550 ต่อ 25
เวลาเปิด-ปิดทำการ/บริการ :: วันอังคาร- ศุกร์ เวลา 9.00 – 17.00 น.
                                       วันเสาร์ เวลา 8.30 – 18.00 น.  หยุดวันอาทิตย์-วันจันทร์ และวันนักขัตฤกษ์
เว็บไซต์ : http://www.cmnlt.com
Published on Thursday, 12 March 2015 11:49
Written by Super User

cmlib10

 

สถานที่ : ห้องสมุดประชาชนจังหวัดเชียงใหม่

ที่ตั้ง : ถนนห้วยแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200

เบอร์โทรศัพท์ : 0-5322-1159

ข้อมูลอื่นๆ ที่น่าสนใจเกี่ยวกับห้องสมุดประชาชนจังหวัดเชียงใหม่

ด้านทรัพยากรสารสนเทศ

  • มีการแนะนำทรัพยากรสารสนเทศมาใหม่
  • ทรัพยากรสารสนเทศเน้นเนื้อหาทั่วไป
  • ทรัพยากรที่มีอยู่ในห้องสมุดมีจำนวนน้อย และทันไม่สมัย

ด้านพฤติกรรมผู้ใช้

  • สถิติผู้ใช้งานโดยเฉลี่ยต่อวันจำนวนประมาณ 800 คน
  • ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เข้ามาใช้บริการหนังสือพิมพ์ และวารสารล่วงเวลาจำนวนมาก
  • ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นผู้ใช้ระดับกลาง มานั่งอ่าน หรือ รอรับลูก

ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

  • ระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่ใช้ในห้องสมุด คือ ระบบห้องสมุดที่พัฒนาโดย อาจารย์ฐิติ บุญยศ ซึ่งใช้กับห้องสมุดของ กศน. ทุกที่
  • มีบริการคอมพิวเตอร์เพื่อการสืบค้น
  • มีเว็บไซต์ห้องสมุดเป็นของตนเอง (http://www.cmlib.org)

ข้อคิดที่ได้จากการมาดูงานครั้งนี้

  • การประชาสัมพันธ์ถือว่ามีความสำคัญระดับหนึ่ง ประชาสัมพันธ์ต้องดี คนจะได้รู้จักห้องสมุดมากๆ
  • ในห้องสมุดไม่ควรมีสำนักงานสำหรับบรรณารักษ์ เนื่องจากจะทำให้บรรณารักษ์ไม่สนใจงานบริการ
  • การเปลี่ยนทัศนคติของผู้ใช้ทำได้ยาก ดังนั้นต้องค่อยๆ เป็น ค่อยๆ ไป
  • ห้องสมุดทุกแห่งควรมีเว็บไซต์ของตัวเอง เพื่อการรายงานกิจกรรมของห้องสมุด

Copyright © 2025 Fitness Time Rights Reserved.